สมัครเรียน

สมัครเรียนหลักสูตรโลจิสติกส์สำหรับที่ปรึกษา รุ่นที่ 8

Mobirise

เปิดสอนหลักสูตรที่ปรึกษาด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน (Supply Chain Logistics Consultant)


🚩รับสมัครผู้สนใจเข้าเรียนหลักสูตรละ 15 คนต่อรุ่น เท่านั้น !!

👉หลักสูตรโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน (Supply Chain Logistics Consultant)
👉ราคา 49,000 บาทต่อคน (สามารถแบ่งชำระได้ 4 งวด)
👉ระยะเวลารวมตลอดหลักสูตร 18 วัน ได้รับใบประกาศจากโรงเรียนโลจิสติกส์และการจัดการ และพร้อมขึ้นทะเบียนที่ปรึกษาฟรี !
👉บริหารงานและสอนโดยวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ ดร.คำนาย อภิปรัชญาสกุล (FCILT, ESLog, CPIM, SCORMaster) และทีมงานอาจารย์ผู้มีประสบการณ์และคุณวุฒิ ที่มีประสบการณ์ด้านการให้คำปรึกษามากกว่า 20 ปี

เนื้อหาหลักสูตร
1. ภาคทฤษฎี : 8 วัน
🔹การเตรียมความพร้อมของที่ปรึกษา
🔹การบริหารจัดการด้านโลจิสติกส์
🔹เสริมทักษะการบริหารหารจัดการการขนส่ง
🔹เสริมทักษะการบริการการจัดการคลังสินค้า
🔹Workshop แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการโลจิสติกส์

2. ภาคปฏิบัติ (On Job Training : OJT) : 10 วัน
🔹ผู้เรียนเข้าวินิจฉัยสถานประกอบการ โดยมีผู้สอนให้คำแนะนำระหว่างฝึกปฏิบัติในสถานที่จริง
🔹ผู้เรียนเข้าให้ปรึกษาสถานประกอบการ โดยมีผู้สอนให้คำแนะนำระหว่าปฏิบัติในสถานที่จริง
🔹ผู้เรียนประชุมกลุ่มย่อยและจัดทำรายงานวินิจฉัย และให้คำปรึกษาแต่ละสถานประกอบการ โดยมีผู้สอนให้คำแนะนำ

กำหนดเรียน
เรียนเฉพาะวัน เสาร์-อาทิตย์ 09.00-16.00 น.
โดย เปิดรับสมัคร ตั้งแต่บัดนี้ - 1 มีนาคม 2563
เริ่มเรียน วันเสาร์ที่ 6 มีนาคม 2564

สถานที่เรียน
โรงเรียนโลจิสติกส์และการจัดการ,
บริษัท โลจิสติกส์คอนซัลแตนท์ จำกัด
เลขที่ 75 ถ.ปัญญาอินทรา แขวงบางชัน เขตคลองสามวา กรุงเทพฯ 10510
📞โทรศัพท์ 02-175-2986-7 📠 โทรสาร 02-175-3499
📧E-mail: schooloflogistics75@gmail.com

หลักสูตรในการฝึกอบรม

🔹บทที่ 1 คุณสมบัติที่ปรึกษา
    • ความหมายและการให้คำปรึกษาแก่ธุรกิจขนาดเล็ก
    • อาชีพที่ปรึกษาธุรกิจดีอย่างไร
    • คุณสมบัติของที่ปรึกษา (ความรู้ ทักษะ จริยธรรม)
    • จริยธรรมของที่ปรึกษา
    • การประเมินความพร้อมตนเองของที่ปรึกษา (Checklist)
    • การเตรียมตัวให้คำปรึกษา
    • อุปกรณ์และวัสดุในการให้คำปรึกษา
🔹บทที่ 2 คุณสมบัติที่สถานประกอบการ
    • คุณสมบัติของสถานประกอบการ
    • การสมัครเข้าร่วมโครงการ
    • จริยธรรมของสถานประกอบการ
    • การประเมินความพร้อมตนเองของสถานประกอบการ(Checklist)
    • การเตรียมตัวรับคำปรึกษาก่อนเข้าร่วมโครงการ
    • ข้อมูลที่จำเป็นต้องจัดเตรียมในระหว่างรับคำปรึกษา
🔹บทที่ 3 ขั้นตอนการให้คำปรึกษา
    • ขั้นตอนมาตรฐานในการให้คำปรึกษา
    • ขั้นตอนเริ่มต้นให้คำปรึกษา
    • การลงนามรักษาความลับทางธุรกิจ
    • การประเมินปัญหาการบริหารจัดการโลจิสติกส์
    • การประเมินประสิทธิภาพการโลจิสติกส์
    • การจัดทำข้อเสนอเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการบริหารจัดการการโลจิสติกส์
    • การปฏิบัติการแก้ไขตามข้อเสนอ และดำเนินการพัฒนาผู้ประกอบการ
    • การวัดประเมินผลการแก้ไขปัญหา
    • การปิดงาน และจบการให้คำปรึกษา
🔹บทที่ 4 แบบฟอร์มประกอบการให้คำปรึกษา
    • เอกสารใบสมัครเข้าโครงการ
    • เอกสารประกอบในการสมัครเข้าโครงการของผู้ประกอบการ
    • การลงนามรักษาความลับทางธุรกิจ
    • เอกสารในการกรอกข้อมูลประกอบการวิเคราะห์
    • ตารางกำหนดการเข้าให้คำปรึกษา
    • การบันทึกการเข้าปฏิบัติงาน
    • การรายตรวจสอบการบริหารจัดการโลจิสติกส์
    • เอกสารวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน
    • รายงานฉบับสุดท้ายของการเข้าปฏิบัติงาน
🔹บทที่ 5 การจัดทำรายงานการให้คำปรึกษา
   • รูปแบบปกมาตรฐาน
   • บทสรุปสำหรับผู้บริการ
   • ข้อมูลเบื้องต้นรวมของสถานประกอบการ
   • ข้อมูลรวมด้านการบริหารจัดการการโลจิสติกส์ก่อนเริ่มโครงการ
   • ข้อมูลรวมผลการประหยัดหลังสิ้นสุดโครงการ
🔹บทที่ 6 การบริหารจัดการโลจิสติกส์
    • ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อต้นทุนการบริหารจัดการโลจิสติกส์
    • ต้นทุน และระดับบริการโลจิสติกส์
    • ต้นทุนและระดับบริการการโลจิสติกส์
    • การลงมือปฏิบัติตามโครงการที่เสนอ
    • การวัดผลการการดําเนินงานด้านการบริหารจัดการโลจิสติกส์
🔹บทที่ 7 หลักสูตรในการอบรมผู้ประกอบการระดับพื้นฐาน
    • ภาพรวมแนวทางการลดต้นทุนและเพิ่มระดับบริการ
    • การลดต้นทุนและเพิ่มระดับบริการจากกลยุทธ์องค์กร
    • การลดต้นทุนและเพิ่มระดับบริการจากการพัฒนาบุคลากร
    • การลดต้นทุนและเพิ่มระดับบริการจากการปรับปรุงกระบวนการ
    • การลดต้นทุนและเพิ่มระดับบริการจากสิ่งอำนวยความสะดวก
    • การลดต้นทุนและเพิ่มระดับบริการเทคโนโลยี
🔹บทที่ 8 บทเรียนจากการให้คำปรึกษา
    • บทเรียนจากที่ปรึกษามืออาชีพ
    • ความคาดหวังของผู้ประกอบการต่อที่ปรึกษา
    • การสร้างและรักษาสัมพันธภาพระหว่างที่ปรึกษากับผู้ประกอบการ
    • การทำงานร่วมกันและบทบาทของที่ปรึกษากับผู้ประกอบการ
    • ปัญหาก่อนเริ่มต้นโครงการ
    • ปัญหาจากการเลือกผู้ประกอบการ
    • ปัญหาในระหว่างการให้คำปรึกษา
    • ปัญหาในการลงมือปฏิบัติ และขยายผลต่อเนื่อง
    • ปัจจัยของความสำเร็จจากการให้คำปรึกษา 

2.1 Core Skill in Transport Management (เสริมทักษะ)
หลักสูตรนี้ออกแบบเพื่อ ผู้ปฏิบัติงานด้านโลจิสติกส์ ทั้งอยู่ในรูปสนับสนุน และไม่สนับสนุนระบบโลจิสติกส์ หลักสูตรนี้จึงมี วัตถุประสงค์ให้ผู้เข้าอบรมสามารถเข้าใจ หรือดําเนินการดังต่อไปนี้ เลือกวิธีการทํางานที่เหมาะสมที่สุด วัตถุประสงค์หลักของการจัดการโลจิสติกส์

🔹บทที่ 1 พื้นฐานโลจิสติกส์
    1.1 จริยะธรรมและคุณธรรมสำหรับผู้ปฏิบัติงานโลจิสติกส์
    1.2 การจัดการวัสดุ และการวางแผนการผลิต
    1.3 การจัดซื้อและเจรจาต่อรอง
    1.4 การจัดการคลังสินค้า
    1.5 การจัดการขนส่ง
    1.6 การจัดการสินค้าคงคลัง
    1.7 แบบจำลองอ้างอิงในการดำเนินการซัพพลายเชน (SCOR)
🔹บทที 2 บทนำของโลจิสติกส์และการจัดการโซ่อุปทาน
    2.1 การพัฒนาการแนวคิดด้านโลจิสติกส์
    2.2 ความต้องการโลจิสติกส์ทางธุรกิจ
    2.3 การกำหนดโครงร่างโซ่อุปทาน ตาม SCOR
🔹บทที่ 3 การประเมินความสามารถด้านโลจิสติกส์
    3.1 การประเมินความสามารถด้านโลจิสติกส์ของกิจการ
    3.2 การประเมินความต้องการผลดำเนินงานของลูกค้า
    3.3 การวิเคราะห์การไหลของวัสดุในกิจกรรมโลจิสติกส์
    3.4 การวิเคราะห์เวลานำของกิจกรรมโลจิสติกส์
    3.5 การกำหนดวัตถุประสงค์เพื่อดำเนินงานโลจิสติกส์
🔹บทที่ 4 การวางแผนและการปฏิบัติการโลจิสติกส์
    4.1 โครงสร้างการวางแผนโลจิสติกส์
    4.2 การเชื่อมต่อการการไหลของวัสดุและสินค้า
    4.3 การใช้เอกสารที่ใช้ในการปฏิบัติการโลจิสติกส์
    4.4 การวางแผนและจัดการสินค้าคงคลัง
    4.5 ปฏิบัติการการพยากรณ์อุปสงค์
    4.6 การเชื่อมต่อการการไหลของวัสดุและสินค้า
    4.7 การเลือกทำเลตั้งในงานโลจิสติกส์
    4.8 การวางแผนและปฏิบัติการการจัดซื้อ
    4.9 การวางแผนวัสดุเพื่อการผลิต
    4.10 การวางแผนและปฏิบัติการการคลังสินค้า
    4.11 การวางแผนและปฏิบัติการการขนส่ง
    4.12 ปฏิบัติงานวางแผนวัสดุเพื่อการผลิตในสถานประกอบการ
    4.13 ปฏิบัติการการคลังสินค้าในสถานประกอบการ
    4.14 ปฏิบัติการการขนส่งในสถานประกอบการ
🔹บทที่ 5 อุปกรณ์ และเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับงานโลจิสติกส์
    5.1 อุปกรณ์ในงานคลังสินค้าโลจิสติกส์
    5.2 ยานพาหนะและอุปกรณ์ในการขนส่ง
    5.3 การใช้ระบบซอฟต์แวร์และเทคโนโลยีสารสนเทศโลจิสติกส์
🔹บทที่ 6 มาตรฐานและการประเมินผลการเนินงานโลจิสติกส์
    6.1 ระบบคุณภาพงานโลจิสติกส์
    6.2 การจัดการความปลอดภัยในงานโลจิสติกส์
    6.3 การจัดการต้นทุนโลจิสติกส์
    6.4 การวัดผลงานโลจิสติกส์
🔹บทที่ 7 ประสบการณ์วิชาชีพการจัดการโลจิสติกส์
    7.1 แนวทางปฏิบัติการที่ดีในการจัดการโลจิสติกส์
    7.2 ประสบการณ์วิชาชีพการจัดการโลจิสติกส์


2.2 การจัดการโลจิสติกส์ (Logistics Management) ซึ่งมีเนื้อหา 8 บทเรียน โดยลักษณะการเรียนจะเรียน ภาคทฤษฏี 5 ชั่วโมง และฝึกเชิงปฏิบัติการ 3 ชั่วโมง (8 วัน) โดยมีเนื้อหาต่อไปนี้
หลักสูตรออกแบบสำหรับที่ปรึกษา ระดับต้น และระดับกลาง หลักสูตรนี้จึงมีวัตถุประสงค์ให้ผู้เข้าอบรมสามารถเข้าใจ หรือ ดำเนินการดังต่อไปนี้

🔹บทที่ 1 บัญชีต้นทุนในโลจิสติกส์
    1.1 ความหมายและวัตถุประสงค์การบัญชีต้นทุน
    1.2 การแยกประเภทต้นทุน
    1.3 การสะสมต้นทุน
    1.4 พื้นฐานการคำนวณต้นทุนด้านโลจิสติกส์
🔹บทที่ 2 การวางแผนการคำนวณต้นทุนโลจิสติกส์
    2.1  ระบบการจัดการต้นทุน
    2.2 วิธีการวางแผนการคำนวณต้นทุน
    2.3 การกำหนดกิจกรรม
    2.4 คำนิยามของกิจกรรมโลจิสติกส์
🔹บทที่ 3 การคำนวณต้นทุนตามปัจจัยป้อนเข้า
    3.1 การคำนวณต้นทุนตามปัจจัยนำเข้า
    3.2 เกณฑ์การกระจายของปัจจัยนำเข้าด้านบุคลากร
    3.3 เกณฑ์การกระจายของปัจจัยนำเข้าด้านพื้นที่
    3.4 เกณฑ์การกระจายของปัจจัยนำเข้าด้านเครื่องจักรและอุปกรณ์
    3.5 เกณฑ์การกระจายของปัจจัยนำเข้าด้านวัสดุใช้งานและวัสดุสิ้นเปลือง
🔹บทที่ 4 ต้นทุนฐานกิจกรรม แนวคิดการคำนวณต้นทุนด้านโลจิสติกส์แบบ ABC
    4.1 ปัจจัยสำคัญที่ใช้ในการวิเคราะห์ต้นทุน
    4.2 ขั้นตอนการคำนวณต้นทุนด้านโลจิสติกส์แบบ ABC
    4.3 การกำหนดกิจกรรม
    4.4 ศึกษาปริมาณการปฏิบัติงานในแต่ละกิจกรรม
    4.5 การพิจารณาทางการเงินเกี่ยวกับคลังสินค้า
🔹บทที่ 5 การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
    5.1 หลักการวิเคราะห์ต้นทุน
    5.2 ลักษณะการวิเคราะห์ต้นทุนในการจัดการโลจิสติกส์
    5.3 การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนที่อยู่ในรูปยอดขาย และการเลือกกระบวนการ
🔹บทที่ 6 ต้นทุนโลจิสติกส์ทางธุรกิจ
    6.1 โครงสร้างต้นทุนด้านโลจิสติกส์
    6.2 วิธีการคำนวณต้นทุนการขนส่งของ
    6.3 วิธีการวัดต้นทุนโลจิสติกส์และการจัดการซัพพลายเชน
    6.4 ต้นทุนโลจิสติกส์ในปัจจุบัน
🔹บทที่ 7 ต้นทุนโลจิสติกส์ระดับประเทศ
    7.1 ต้นทุนโลจิสติกส์ระดับภาค และระดับประเทศ
    7.2 หมวดการขนส่ง การเก็บรักษาสินค้า และการคมนาคม
    7.3 ต้นทุนโลจิสติกส์ระดับมหภาค
    7.4 ขั้นตอนและวิธีการคํานวณต้นทุนโลจิสติกส์มหภาค
    7.5 การคํานวณต้นทุนโลจิสติกส์ต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ
    7.6 ต้นทุนโลจิสติกส์ระดับประเทศ
🔹บทที่ 8 การจัดทำรายงานต้นทุนโลจิสติกส์     
    8.1 เหตุผลและประโยชน์ของการจัดทำรายงานต้นทุนโลจิสติกส์
    8.2 รูปแบบการจัดทำรายงานต้นทุนโลจิสติกส์
    8.3 การจัดทำรายงานระดับประเทศ
    8.4 การจัดทำรายงานแบบกราฟ
    8.5 องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับต้นทุนโลจิสติกส์
    8.6 แนวทางการลดต้นทุนโลจิสติกส์ 

สามารถแบ่งชำระได้ 4 งวด

หลักสูตร จำนวนวันจำนวน / รุ่น (คน) ราคา / คน (บาท)
การจัดการโลจิสติกส์1810-1549,000
การจัดการคลังสินค้า1810-1539,000
การจัดการการขนส่ง1810-1539,000

หลักสูตรทั้งหมดได้รับการอนุมัติและควบคุมจากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน

กระทรวงศึกษาธิการ

SHARE THIS PAGE!

Mobirise
Address

75 Bang Chan, Khlong Sam Wa, Bangkok 10510, Thailand

Contacts

Email: schooloflogistics75@gmail.com
anl_style@hotmail.com
Phone: 02-175-2986-7
Mobile: 063-218-4998
Fax: 02-175-3499

Mobirise